
เรื่องเล่าของวิศวกรโลหการ
วรุณ จันทรสุนทรกุล เรียนจบปริญญาตรีภาควิชาวิศวกรรมโลหการ รุ่นที่ 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ผมเข้าเรียนปี 1 เป็นปีที่ ธีรยุทธ์ บุญมี ผู้นำนักศึกษาในสมัย 16 ตุลาคม
วรุณ จันทรสุนทรกุล เรียนจบปริญญาตรีภาควิชาวิศวกรรมโลหการ รุ่นที่ 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ผมเข้าเรียนปี 1 เป็นปีที่ ธีรยุทธ์ บุญมี ผู้นำนักศึกษาในสมัย 16 ตุลาคม
ชีวิตใหม่ของพวกเราเริ่มต้นขึ้นหลังจากประกาศผลสอบเอนทรานซ์ ช่วงแรกที่เข้ามาใหม่ ๆ ต้องปรับตัวกันยกใหญ่ เพราะต่างคนต่างที่มา บางคนเรียนโรงเรียน “สหศึกษา” มาก็ปรับตัวเร็วหน่อย แต่บางคนเรียนโรงเรียนหญิงล้วนชายล้วนอาจต้องปรับตัวมากกว่าปกติ แต่ด้วยความที่เป็นเด็กจุฬาฯ เหมือนกัน เลือดสี (เลือดหมู) เดียวกัน เลยทำให้เรา
“ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง ฉันจึง มาหา ความหมาย ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย สุดท้าย ให้กระดาษ ฉันแผ่นเดียว” บทกลอนเปรียบเปรยชีวิตบัณฑิตจบใหม่ที่โด่งดังของคุณวิทยากร เชียงกูล ซึ่งพอจะตีความหมายได้ว่า
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 5 ในการประชุมนานาชาติที่ได้มีโอกาสไปร่วม เช่น เจรจาเพื่อปกป้องและแก้ปัญหากรณีปราสาทพระวิหาร ฯลฯ สิ่งละอันพันละน้อยที่ได้จากการท่องเที่ยว เรียนรู้วัฒนธรรม นิสัยใจคอ
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 4 เมื่อถึงจุดหนึ่งผมตัดสินใจลาออกจากการรถไฟฯ มาเริ่มนับหนึ่งใหม่ในโลกภายนอก โดยไม่เคยเอ่ยปากว่าจะออกมาก่อนแม้แต่ครั้งเดียว แม่เคยสอนไว้ว่า ในใจจะอย่างไรก็ตาม “เวลาจากที่ไหน ให้จากด้วยดี“ เพราะวันหนึ่งอาจต้องโคจรมาเจอกันอีกก็เป็นได้ ผมจึงใช้เหตุผลโดยวาจาว่า ผมกลับมาเริ่มทำงานจริงที่การรถไฟฯ “วันที่สิบเอ็ดเดือนสิบเอ็ดปีสองเอ็ด (จำง่าย)” ผมขอลาออก “วันที่สิบเอ็ดเดือนสิบเอ็ดปีสามเอ็ด“ รวม 10 เต็มวันชนวันพอดี (แต่อายุงานจริงมากกว่านั้น เพราะได้สิทธินับอายุงานตั้งแต่ไป) และเนื่องจากได้ทุนทางโน้นด้วย (ดังกล่าวมาแล้ว) ไม่ได้ใช้เงินทางนี้มาก บำเหน็จที่จะได้รับตอนออกจึงหักลบกลบล้างกับหนี้ทุนที่ต้องชดใช้ได้ประมาณพอดีกัน
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอน 3 อีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวโยงกับการเดินทาง และอยากนำมากล่าวถึงเป็นเกร็ดความรู้ แต่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้บ่อยครั้งในชีวิตจริง คือทำอย่างไรเราจะบอกขนาดของพื้นที่โดยประมาณได้ด้วยตาเปล่า ไม่เฉพาะในหน่วยเป็น “ไร่” แต่รวมถึงหน่วย
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียวต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 2 ในระหว่างเดือน ธันวาคม 2525 ถึง เมษายน 2526 ผมถูกส่งไปเป็นวิศวกรตรวจการสร้างรถสินค้า ที่การรถไฟฯได้สั่งซื้อจากบริษัทแดวู
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมมีความยินดีที่ได้มาคุยเล่าสู่กันฟังผ่านนิตยสารแม่น้ำโขง ในวาระครบรอบ 46 ปีแห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ไทย-จีน และ 30 ปีแห่งจีน-อาเซียน ขอถือโอกาสเกริ่นแต่ต้นนี้ก่อนว่าเรื่องที่จะคุยนั้นจะไม่เน้นภาคทฤษฎีหรือความเป็นมาที่ทุกท่านสามารถหาอ่านได้จากที่ต่าง ๆ โดยไม่ยาก แต่จะเน้นประสบการณ์แห่งความทรงจำบางส่วนซึ่งผมได้สัมผัสมาด้วยตัวเองในช่วงเวลาดังหัวข้อเรื่องนี้ที่มีส่วนเกี่ยวโยงถึงความสัมพันธ์ทั้งไทย-จีน
พิทวัส เลิศศิริโรจน์ (เจมส์) ผมเริ่มบริจาคครั้งแรกตอนเรียนปี 2 กับโครงการ CU B157 ครับ ซึ่งจริง ๆ อยากจะบริจาคนานแล้วแต่อายุยังไม่ถึง 18 ปี (ถ้าจะบริจาคต้องมีผู้ปกครองเซ็นยินยอม)
มกร พงษ์ธนพฤกษ์ วศ. 2519 แต่เดิมกิจกรรมการบริจาคโลหิตเป็นกิจกรรมที่นิสิตคณะวิศวฯ จุฬาฯ ทำเป็นประจำตั้งแต่มีการริเริ่มในปี พ.ศ. 2506 และต่อเนื่องมาจนกระทั่งมีกรณีที่มีการติดเชื้อ AIDS จากการบริจาคโลหิตช่วงหลังปี 2535 ทำให้วัฒนธรรมการบริจาคโลหิตของนิสิตคณะวิศวฯ หยุดไปและไม่ได้หวนกลับมาอย่างเข้มแข็งเหมือนเดิม
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า