บรรพชนของชาติไทย

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 2)

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 2)

นักวิทยาศาสตร์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างความรู้ (Knowledge) กับ ความเชื่อ (Belief) ไว้ว่า “มีความขัดแย้งที่แตกต่างกันระหว่างความรูกั้บความเชื่อเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ก็น่าจะถึงเวลาแล้วที่ความเชื่อทั้งหลายควรถูกทดแทนที่ด้วยความรู้อันเป็นความจริงที่ถูกต้อง เพราะความเชื่อทั้งหลายนั้นมิได้อยู่บนฐานของความรู้ แต่เป็นเพียงความหลงเชื่อกันอย่างงมงาย จึงควรจะถูกแก้ไขด้วยการศึกษาที่ถูกต้องเพื่อเปิดให้มีการคิดค้นคว้าในการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ สถาบันการศึกษาจึงนับเป็นองค์กรสำคัญที่ให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างถูกต้องเป็นอย่างยิ่ง

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 1)

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 1)

เกริ่นนำ เรื่องการศึกษากำเนิดชนชาติไทย และกำหนดว่า ใครเป็นบรรพชนของชาติไทย เป็นเรื่องที่ต้องมีการศึกษาอย่างละเอียด อย่างเป็นระบบที่มีแบบแผน ไม่ใช่การเชื่อใครอย่างเลื่อนลอยว่า ใครจะมาเป็นบรรพชนของชาติอย่างง่าย ๆ ได้ เพราะเรื่องบรรพชนของชาตินี้เป็นเรื่องสำคัญ และทุกชาติต่างก็มีความภาคภูมิใจในบรรพชนของตน

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save