AI

มูลนิธิศูนย์ข้อมูลจราจรอัจฉริยะไทย ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงาน iTIC Forum 2024 ครั้งที่ 5 สำเร็จลุล่วง เน้นย้ำความสำคัญของการสร้างวินัยจราจรด้วยเทคโนโลยี AI

มูลนิธิศูนย์ข้อมูลจราจรอัจฉริยะไทย ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงาน iTIC Forum 2024 ครั้งที่ 5 สำเร็จลุล่วง เน้นย้ำความสำคัญของการสร้างวินัยจราจรด้วยเทคโนโลยี AI

เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2567 มูลนิธิศูนย์ข้อมูลจราจรอัจฉริยะไทย (iTIC) ประสบความสำเร็จในการจัดงานสัมมนา “iTIC Forum 2024: Safe & Smart Mobility by

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปฏิบัติการหมุนเฟือง AI”

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ “ปฏิบัติการหมุนเฟือง AI”

เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2567 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดย ภารกิจบริหารทรัพยากรมนุษย์ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “ปฏิบัติการหมุนเฟือง AI” เพื่อให้บุคลากรคณะวิศวฯ ได้ฝึกทักษะการประยุกต์ใช้ AI

“DeepGI” ความร่วมมือวิศวฯ และแพทย์ จุฬาฯ ส่องกล้องลำไส้ใหญ่และระบบทางเดินอาหารด้วย AI

“DeepGI” ความร่วมมือวิศวฯ และแพทย์ จุฬาฯ ส่องกล้องลำไส้ใหญ่และระบบทางเดินอาหารด้วย AI

อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ และคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมพัฒนา DeepGI นวัตกรรม AI ใช้ในการส่องกล้องลำไส้ใหญ่และระบบทางเดินอาหาร เพื่อตรวจมะเร็งได้ผลแม่นยำ ใช้งานจริงแล้วที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ ผลงานสร้างชื่อเป็นที่ยอมรับจากต่างชาติในการประชุมของแพทย์ส่องกล้องระบบทางเดินอาหารนานาชาติ ENDO 2024 ที่ประเทศเกาหลีใต้

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดโครงการอบรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “เพราะคนไม่ใช่ AI หัวใจถึงต้องดูแล”

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดโครงการอบรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “เพราะคนไม่ใช่ AI หัวใจถึงต้องดูแล”

เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2567 ภารกิจบริหารทรัพยากรมนุษย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโครงการอบรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 ในหัวข้อ “เพราะคนไม่ใช่ AI หัวใจถึงต้องดูแล” เพื่อให้บุคลากรได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ชีวิตท่ามกลางสื่อ

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดเสวนาในหัวข้อ “ยุค AI มาถึงแล้ว สายศิลป์ปรับตัวอย่างไร?”

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดเสวนาในหัวข้อ “ยุค AI มาถึงแล้ว สายศิลป์ปรับตัวอย่างไร?”

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานเสวนาพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถให้เท่าทันโลกขึ้น ในหัวข้อ “ยุค AI มาถึงแล้ว สายศิลป์ปรับตัวอย่างไร?” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างคณะนิเทศศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

งานเสวนาทางวิชาการเรื่อง “โครงข่ายการสื่อสารไร้สายและบริการในยุคเอไอและเมตาเวิร์ส” (Wireless Communication Networks and Services in AI and Metaverse Era)

งานเสวนาทางวิชาการเรื่อง “โครงข่ายการสื่อสารไร้สายและบริการในยุคเอไอและเมตาเวิร์ส” (Wireless Communication Networks and Services in AI and Metaverse Era)

เมื่อวันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมูลนิธิอรุณ สรเทศน์ ร่วมกับศูนย์ระบบเครื่องกลชาญฉลาดเพื่อความยั่งยืน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ภายใต้โครงการอาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ

ยุค AI มาถึงแล้ว ประเทศไทยพร้อมรับมือ? จุฬาฯ เตรียมรับการเปลี่ยนแปลง รุดหน้านำ Generative AI ในการเรียนการสอน

ยุค AI มาถึงแล้ว ประเทศไทยพร้อมรับมือ? จุฬาฯ เตรียมรับการเปลี่ยนแปลง รุดหน้านำ Generative AI ในการเรียนการสอน

จุฬาฯ นำร่อง Generative AI ในการเรียนการสอน แนะยุทธศาสตร์ชาติ ส่งเสริม AI Literacyให้คนเข้าใจและใช้ AI เพิ่มประสิทธิภาพงาน ย้ำมนุษย์ต้องเพิ่มศักยภาพและสมรรถนะตัวเอง ก่อนถูก AI ทดแทนและทิ้งไว้ข้างหลัง

AICute นวัตกรรมจุฬาฯ ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ รักษาตรงจุด ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

AICute นวัตกรรมจุฬาฯ ประเมินโอกาสเป็น Stroke จากโรคหัวใจ รักษาตรงจุด ลดความเสี่ยงพิการและเสียชีวิต

ทีมวิจัยคณะแพทยศาสตร์ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ ร่วมพัฒนา AICute นวัตกรรรมตรวจประเมินโอกาสของการเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่เกิดจากโรคหัวใจ มุ่งช่วยโรงพยาบาลที่ขาดแคลนแพทย์เฉพาะทางด้านโรคหัวใจ เพิ่มประสิทธิภาพการรักษาโรคหลอดเลือดสมอง ลดความแออัดในโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงเรียนแพทย์

ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ จากทุกคณะ เข้าร่วมรับฟังข้อมูล หัวข้อเรื่อง “Using AI to Teach Languages”

ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ จากทุกคณะ เข้าร่วมรับฟังข้อมูล หัวข้อเรื่อง “Using AI to Teach Languages”

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ บริษัท ไมโครซอฟท์ (ประเทศไทย) จำกัด ขอเชิญชวนคณาจารย์จุฬาฯ จากทุกคณะ เข้าร่วมรับฟังข้อมูล หัวข้อเรื่อง “Using AI to Teach

AI วาดรูป เทรนด์การสร้างผลงานศิลปะ แทนที่ หรือ เติมเต็ม ฝีมือและจินตนาการมนุษย์?

AI วาดรูป เทรนด์การสร้างผลงานศิลปะ แทนที่ หรือ เติมเต็ม ฝีมือและจินตนาการมนุษย์?

จาก “คำ” กลายเป็น “ภาพ” ปัญญาประดิษฐ์เปิดโอกาสให้ทุกคนสร้างสรรค์ผลงานศิลปะได้ด้วยตัวเอง ง่าย สะดวก รวดเร็ว แต่ AI รูปแบบนี้จะเข้ามาลดทอนและแทนที่ ฝีมือ จินตนาการ และอาชีพของมนุษย์หรือไม่ เราควรมีท่าทีต่อเรื่องนี้อย่างไร

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save