ChulaEngineering

กฐินสามัคคีและผ้าป่าสามัคคีคณะวิศวกรรมศาสตร์และสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาฯ ประจำปี 2566

กฐินสามัคคีและผ้าป่าสามัคคีคณะวิศวกรรมศาสตร์และสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาฯ ประจำปี 2566

เมื่อวันเสาร์ที่ 18 พฤศจิกายน 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดย ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี พร้อมด้วยนิสิตเก่า ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรได้เดินทางไปทำบุญทอดกฐินสามัคคีคณะวิศวกรรมศาสตร์และสมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดเสวนาในหัวข้อ “ยุค AI มาถึงแล้ว สายศิลป์ปรับตัวอย่างไร?”

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดเสวนาในหัวข้อ “ยุค AI มาถึงแล้ว สายศิลป์ปรับตัวอย่างไร?”

เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานเสวนาพัฒนาศักยภาพและเพิ่มขีดความสามารถให้เท่าทันโลกขึ้น ในหัวข้อ “ยุค AI มาถึงแล้ว สายศิลป์ปรับตัวอย่างไร?” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างคณะนิเทศศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์

คณะวิศวฯ จัดโครงการวิศวศึกษา : จิตอาสาส่งเสริมสร้างสรรค์พัฒนา เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับท้องถิ่นผ่านแหล่งการศึกษา หมู่บ้านตามชุมชนในชนบท

คณะวิศวฯ จัดโครงการวิศวศึกษา : จิตอาสาส่งเสริมสร้างสรรค์พัฒนา เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับท้องถิ่นผ่านแหล่งการศึกษา หมู่บ้านตามชุมชนในชนบท

เมื่อวันที่ 27–29 ตุลาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดย ศาสตราจารย์ ดร.เกษม ชูจารุกุล รองคณบดีฝ่ายบริหาร พร้อมด้วย สงวน ภู่ระหงษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร

คณะวิศวฯ จัดงานเสวนา Chula ลองก่อน! ในหัวข้อ “งานครีเอทีฟทางตีบหรือทางโต”

คณะวิศวฯ จัดงานเสวนา Chula ลองก่อน! ในหัวข้อ “งานครีเอทีฟทางตีบหรือทางโต”

เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานเสวนา Chula ลองก่อน! ในหัวข้อ “งานครีเอทีฟทางตีบหรือทางโต” ณ หอประชุมคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยได้รับเกียรติจากวิทยากร ได้แก่

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดงานเสวนา Chula ลองก่อน! ในหัวข้อ “จาก Wellness สู่ Wealthiness”

คณะวิศวฯ จุฬาฯ จัดงานเสวนา Chula ลองก่อน! ในหัวข้อ “จาก Wellness สู่ Wealthiness”

เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดงานเสวนา Chula ลองก่อน! ในหัวข้อ “จาก Wellness สู่ Wealthiness” ณ

วิศวฯ จุฬาฯ ลงนามความร่วมมือกับน้ำตาลมิตรผล สร้างคนดิจิทัลเข้าอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ

วิศวฯ จุฬาฯ ลงนามความร่วมมือกับน้ำตาลมิตรผล สร้างคนดิจิทัลเข้าอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ

วันที่ 28 เมษายน 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ลงนามความร่วมมือกับบริษัท น้ำตาลมิตรผล จำกัดและบริษัทในเครือ เพื่อผลิตวิศวกรคอมพิวเตอร์ในหลักสูตรใหม่ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล ที่สามารถผลิตบัณฑิตจำนวนมากถึง 300 คนต่อรุ่น

คณะวิศวฯ จุฬาฯ และมูลนิธิอรุณ สรเทศน์ จัดการบรรยายพิเศษและเสวนาทางวิชาการเรื่อง “นโยบายความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมกับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ”

คณะวิศวฯ จุฬาฯ และมูลนิธิอรุณ สรเทศน์ จัดการบรรยายพิเศษและเสวนาทางวิชาการเรื่อง “นโยบายความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมกับการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ”

เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมูลนิธิอรุณ สรเทศน์ โดยโครงการอาศรมความคิด อรุณ สรเทศน์ ณ ลานเกียร์ (เปิดโลกลานเกียร์) จัดการบรรยายพิเศษและเสวนาทางวิชาการเรื่อง

วิศวฯ จุฬาฯ จับมือ เอกชนยักษ์ใหญ่ ผลิตคนดิจิทัล แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน

วิศวฯ จุฬาฯ จับมือ เอกชนยักษ์ใหญ่ ผลิตคนดิจิทัล แก้ปัญหาขาดแคลนแรงงาน

เมื่อวันพุธที่ 8 มีนาคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เปิดสาขาใหม่ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีดิจิทัล ที่แตกต่างไปจากการเรียนตามหลักสูตรทั่วไป โดยมุ่งเน้นการผลิตกำลังคนดิจิทัลคุณภาพสูงจำนวนมากถึง 300 คนต่อรุ่น เพื่อตอบสนองต่อความขาดแคลนอย่างหนักของประเทศ ซึ่งถือเป็นครั้งแรกในการเปลี่ยนแปลงหลักสูตรของวงการศึกษาไทยที่ต้องปรับตัวให้เกิดความแตกต่าง

นิสิตภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ใน โครงการ 6th Digital Design with FPGA Camp

นิสิตภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ใน โครงการ 6th Digital Design with FPGA Camp

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ขอร่วมแสดงความยินดีกับนิสิตภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มโนภัทร ชาญกล้า ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ และ เพ็ญชาติ พวงเงิน ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ใน โครงการ 6th Digital

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save