การสอนและสร้างวิศวกร: แนวคิดจากประสบการณ์ สู่แนวทางในอนาคต
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมได้รับการประสานจากผู้จัดทำหนังสือ “9 รอบ 108 ปี คณะวิศวฯ จุฬาฯ (เล่ม 3)” ให้เขียนบทความจากประสบการณ์ โดยกำหนดประเด็นมาคือ
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมได้รับการประสานจากผู้จัดทำหนังสือ “9 รอบ 108 ปี คณะวิศวฯ จุฬาฯ (เล่ม 3)” ให้เขียนบทความจากประสบการณ์ โดยกำหนดประเด็นมาคือ
วิถีชีวิตยุคใหม่แพร่ขยายไปทุกวงการ แม้แต่วงการศึกษาที่การเกิดการเปลี่ยนแปลงแบบ “หักศอก” หรือ Disruption เกิดขึ้นได้ไม่ง่ายนัก ผมจำได้ว่าเมื่อเกือบ 40 ปีก่อนตอนผมกลับจากการศึกษาต่อมาเป็นอาจารย์ใหม่ ๆ มีการรณรงค์กันให้เลิกการเรียนการสอนแบบ “ป้อน” ให้นักเรียนนักศึกษา มีการรณรงค์ “หักช้อน”
ทฤษฎี หรือ Theory ที่เหมือนเรื่องไกลตัว แท้จริงแล้วใกล้ตัวเราอย่างยิ่ง เกือบทุกสิ่งที่เราเกี่ยวข้องล้วนต้องอาศัยทฤษฎีไม่ว่าเพื่อการนำไปใช้ผลิตสินค้าออกมาขาย เพื่อการออกแบบระบบบริหาร หรือแม้แต่เพื่อหาวิธีในการดูแลลูกหลานของเราเอง
ยุคนี้เราจะเห็นความแตกต่างทางด้านความคิดของคนต่างวัยต่างรุ่นอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้น หัวข้อเกี่ยวกับ Generation Gap จึงเป็นเรื่องที่คนจำนวนมากสนใจ รวมทั้งผมด้วยครับ เพราะผมเป็นคน Gen X แต่เป็นอาจารย์สอนนิสิตที่เป็นคน Gen Y, Gen Z
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า