เก็บมาฝาก

เรื่องเหนียว ๆ เกี่ยวกับ “นํ้ามัน” ตอน โลกก่อนและหลังยุคน้ำมัน

เรื่องเหนียว ๆ เกี่ยวกับ “นํ้ามัน” ตอน โลกก่อนและหลังยุคน้ำมัน

ในอดีตไม่มีประเทศอิรัก! เพราะที่ตั้งของประเทศอิรักในปัจจุบันเดิมเป็นส่วนหนึ่งของดินแดนจักรวรรดิ ออตโตมาน (Ottoman Empire) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่ตุรกี และดินแดนแถบนี้ตกอยู่ ในการปกครองของอังกฤษในยุคล่าอาณานิคม

SENSORS AUTOMATION Make it easy

SENSORS AUTOMATION Make it easy

AUTOMATION SYSTEM ระบบออโตเมชันในโรงงานด้วยเซนเซอร์ออโตเมชัน (Sensors Automation) ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 มีการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม หนึ่งในระบบ Automation ถือเป็นส่วนสำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นเดียวกับเทคโนโลยีต่าง ๆ

เรื่องเหนียว ๆเกี่ยวกับ “นํ้ามัน” ตอน 7 ดรุณี ผู้ครองโลกด้วยนํ้ามัน

เรื่องเหนียว ๆเกี่ยวกับ “นํ้ามัน” ตอน 7 ดรุณี ผู้ครองโลกด้วยนํ้ามัน

ใครคือ 7 ดรุณี ผู้ครองโลกด้วยนํ้ามัน? กาลครั้งหนึ่ง เมื่อไม่นานมานี้เอง ก่อนที่โลกจะมี OPEC ผู้ที่ควบคุมนํ้ามันและการค้านํ้ามันของโลกคือบริษัทนํ้ามันยักษ์ใหญ่ของโลกของประเทศตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทนํ้ามันที่ใหญ่ที่สุดของโลก 7 บริษัท

วันเข้าพรรษา “จำพรรษามิพักค้างต่างอาราม เดือนแปดแรมหนึ่งค่ำเริ่มพำนัก”

วันเข้าพรรษา “จำพรรษามิพักค้างต่างอาราม เดือนแปดแรมหนึ่งค่ำเริ่มพำนัก”

บทกลอนประพันธ์โดย: ผศ. ดร.สมศักดิ์ ตันตาศนี วศ.2517 กาลต่อมาสาวกค่อยทยอยเพิ่ม กล้าข้าวเริ่มปักชำนำเหตุเนื่อง ฉัพพัคคีย์ย่ำยีข้าวกล้าชาวเมือง จึงเกิดเรื่องร้องเรียนติเตียนมา พุทธองค์ทรงทราบเรื่องความเคืองขัด จึงทรงตรัสบัญญัติไว้ให้รักษา ภิกษุเมื่อวสันตฤดูมา จำพรรษามิพักค้างต่างอาราม เดือนแปดแรมหนึ่งค่ำเริ่มพำนัก จันทรจักรคล้อยเคลื่อนเดือนที่สาม เดือนสิบเอ็ดสิบห้าค่ำอำไพงาม จึงครบตามพรรษาครองครรลองควร

วันอาสาฬหบูชา “เพ็ญเดือนแปดอาสาฬหะพระจันทร์ฤกษ์”

วันอาสาฬหบูชา “เพ็ญเดือนแปดอาสาฬหะพระจันทร์ฤกษ์”

บทกลอนประพันธ์โดย: ผศ. ดร.สมศักดิ์ ตันตาศนี วศ.2517 เพ็ญเดือนแปดอาสาฬหะพระจันทร์ฤกษ์ พระธรรมเกริกเกรียงไกรไขกระจ่าง ทรงปฐมเทศนาคราท่ามกลาง ไพรเวิ้งว้างสงบสงัดชัฏรื่นรมย์ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร คือพระสูตรแรกแจงแสดงสม ประกาศธรรมล้ำเลิศเทิดชื่นชม ไขเงื่อนปมอริยสัจตรัสแสดง กามสุขัลลิกานุโยคโลกว้าวุ่น กามคุณเพลินฟุ้งจิตปรุงแต่ง

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 2)

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 2)

นักวิทยาศาสตร์ อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้กล่าวถึงความแตกต่างระหว่างความรู้ (Knowledge) กับ ความเชื่อ (Belief) ไว้ว่า “มีความขัดแย้งที่แตกต่างกันระหว่างความรูกั้บความเชื่อเป็นอย่างมาก ทั้งนี้ก็น่าจะถึงเวลาแล้วที่ความเชื่อทั้งหลายควรถูกทดแทนที่ด้วยความรู้อันเป็นความจริงที่ถูกต้อง เพราะความเชื่อทั้งหลายนั้นมิได้อยู่บนฐานของความรู้ แต่เป็นเพียงความหลงเชื่อกันอย่างงมงาย จึงควรจะถูกแก้ไขด้วยการศึกษาที่ถูกต้องเพื่อเปิดให้มีการคิดค้นคว้าในการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ สถาบันการศึกษาจึงนับเป็นองค์กรสำคัญที่ให้การศึกษาแก่ประชาชนอย่างถูกต้องเป็นอย่างยิ่ง

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 1)

กำเนิดชนชาติไทย ปฐมบทแห่งความเป็นไทย (ตอนที่ 1)

เกริ่นนำ เรื่องการศึกษากำเนิดชนชาติไทย และกำหนดว่า ใครเป็นบรรพชนของชาติไทย เป็นเรื่องที่ต้องมีการศึกษาอย่างละเอียด อย่างเป็นระบบที่มีแบบแผน ไม่ใช่การเชื่อใครอย่างเลื่อนลอยว่า ใครจะมาเป็นบรรพชนของชาติอย่างง่าย ๆ ได้ เพราะเรื่องบรรพชนของชาตินี้เป็นเรื่องสำคัญ และทุกชาติต่างก็มีความภาคภูมิใจในบรรพชนของตน

เรื่องเหนียว ๆเกี่ยวกับ “นํ้ามัน” ตอน นํ้ามันสารเสพติดของโลกมาจากไหน?

เรื่องเหนียว ๆเกี่ยวกับ “นํ้ามัน” ตอน นํ้ามันสารเสพติดของโลกมาจากไหน?

นํ้ามันมาจากไหน? จงอย่าตอบว่ามาจาก “ปั๊มนํ้ามัน” เพราะแสดงว่าท่านคือผู้บริโภคที่แท้จริงหรืออย่าตอบว่ามาจาก “โรงกลั่น” นั่นจะทำให้ท่านกลายเป็นพวกประเภทพ่อค้าหรือตอบว่ามาจาก “บ่อนํ้ามันในตะวันออกกลาง” เพราะถูกเป๋งเลย แต่ท่านจะกลายเป็นพวกนักอุตสาหกรรมหรือพวกวิศวกร และแสดงว่าความรู้ของท่านจบลงที่นั่น

วิศวกรสิ่งแวดล้อมกับการบำบัดน้ำเสียในประเทศไทย

วิศวกรสิ่งแวดล้อมกับการบำบัดน้ำเสียในประเทศไทย

บทความโดย มนู เมฆโสภาวรรณกุล วศ.17 วุฒิวิศวกรสิ่งแวดล้อม วส.67 เมืองไทยเริ่มมีการออกแบบระบบบำบัดน้ำเสียมาหลายสิบปี จากเริ่มต้นเป็นระบบง่ายๆ ใช้ธรรมชาติมาช่วยในกระบวนการบำบัด ค่อย ๆ พัฒนาให้ทันสมัยขึ้นมาตามลำดับ ด้วยฝีมือและความรับผิดชอบของคนรุ่นเก่า ๆ ที่ใช้คุณธรรมและจรรยาบรรณของวิศวกรควบคู่ไปกับการออกแบบ

“ขยะติดเชื้อ” ภัยเงียบ…แต่ผลกระทบดัง

“ขยะติดเชื้อ” ภัยเงียบ…แต่ผลกระทบดัง

บทความจากคณะ ดร.ทักษิณา โพธิ์ใหญ่ นักวิจัยหลังปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศ. ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล รองคณบดีด้านยุทธศาสตร์นวัตกรรมและความยั่งยืน คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานการณ์ขยะติดเชื้อในประเทศไทย สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save