
การสอนและสร้างวิศวกร: แนวคิดจากประสบการณ์ สู่แนวทางในอนาคต
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมได้รับการประสานจากผู้จัดทำหนังสือ “9 รอบ 108 ปี คณะวิศวฯ จุฬาฯ (เล่ม 3)” ให้เขียนบทความจากประสบการณ์ โดยกำหนดประเด็นมาคือ
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมได้รับการประสานจากผู้จัดทำหนังสือ “9 รอบ 108 ปี คณะวิศวฯ จุฬาฯ (เล่ม 3)” ให้เขียนบทความจากประสบการณ์ โดยกำหนดประเด็นมาคือ
เนื่องจากปัจจุบันหลายองค์กรและหลายภาคส่วนให้ความสำคัญในเรื่อง Net Zero และ Carbon Neutrality ดร.เกชา ธีระโกเมน วศ.14 ประธานกรรมการบริษัท และกรรมการผู้จัดการ บริษัท อีอีซี เอ็นจิเนียริ่ง เน็ทเวิร์ค
การเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นสภาพภูมิอากาศ โรคระบาด หรือเทคโนโลยี ได้ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมอย่างไม่มีขีดจำกัด ความรู้และความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งจำเป็นที่คนไทยโดยเฉพาะคนรุ่นใหม่ต้องมี เพื่อใช้ในการพัฒนาตนเองและประกอบอาชีพ เพราะความรู้คือโอกาส ผู้ที่เข้าถึงแหล่งความรู้และสามารถคิดวิเคราะห์จนเกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ก่อน จะสามารถเข้าถึงโอกาสในการทำมาหากินได้ก่อน OKMD เป็นหน่วยงานสำคัญของประเทศที่มีบทบาทและภารกิจในการพัฒนาความคิด เพิ่มความรู้ และสร้างสรรค์ภูมิปัญญาให้แก่ประชาชนผ่านกระบวนการเรียนรู้สาธารณะ
ด้วยตัวอย่างต้นแบบการเป็นวิศวกรโยธาจากคุณพ่อ ทำให้คุณอาจณรงค์เกิดแรงบันดาลใจที่จะเดินรอยตามด้วยการเลือกเรียนปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลังจากเรียนจบไดตั้งใจทำงานในกลุม่ บริษัทกรีไทย บริษัทผูรั้บเหมาก่อสร้างอาคารในประเทศไทยควบคู่กับการดำรงตำแหน่งบริหารงานที่โรงแรมโนโวเทล กรุงเทพ สยามสแควร์
จากจุดเริ่มต้นที่ชื่นชอบในงานศิลปะ ไปสู่การสะสมผลงานจนเข้าไปอยู่ใน DNA ของ ผศ. ดร.วุฒิพงศ์ กิตติธเนศวร วศ.27 กรรมการผู้จัดการ บริษัท วิชชากร จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่ปรึกษาด้านวิศวกรรมให้แก่โครงการก่อสร้างของภาครัฐอันดับต้น ๆ ของเมืองไทย
ประเทศเล็ก ๆอย่างสิงคโปร์ มีพื้นที่ประมาณ 697 ตารางเมตร เท่า ๆ กับเกาะภูเก็ตของเรา สิงคโปร์ประกอบด้วย 1 เกาะใหญ่ (คือเกาะสิงคโปร์) และเกาะเล็ก ๆ อีกมากกว่า
โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) หลายเหตุการณ์ในบทความนี้เกิดขึ้นย้อนหลังไปกว่า 50 ปี ทำให้รู้สึกเลือนและสับสนอยู่บ้างในตอนแรก ต้องสอบถามเพื่อนร่วมรุ่นหลายคนเพื่อความมั่นใจในบางเรื่อง แม้กระทั่งการหารูปเก่าที่ชัดเจนของอาจารย์ทั้ง 3 ท่านก็ทำได้ยาก แต่ยังโชคดีที่สามารถค้นเจอ โดยเฉพาะจากหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ “ที่ระลึก
ดร.อดิศัย โพธารามิก และ ดร.พิชนี โพธารามิก บริจาคเงินจำนวน 5,000,000 บาท เพื่อสมทบทุนโครงการปรับปรุงพื้นที่ Gewertz Square จัดตั้ง “ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการด้าน Smart Living
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ กลุ่มบริษัท บี ปิโตรไทย (บริษัท ปิโตรไทย จำกัด) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ การถ่ายทอดองค์ความรู้ ต่อยอดการบริหารจัดการทางวิศวกรรม (Engineering Management) ของระบบบริหารอุปกรณ์ เครื่องมือ การบำรุงรักษา การบริหารการปิดซ่อมสายการผลิต
AUTOMATION SYSTEM ระบบออโตเมชันในโรงงานด้วยเซนเซอร์ออโตเมชัน (Sensors Automation) ในยุคอุตสาหกรรม 4.0 มีการนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาประยุกต์ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม หนึ่งในระบบ Automation ถือเป็นส่วนสำคัญอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่นเดียวกับเทคโนโลยีต่าง ๆ
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า