
คณะวิศวฯ ให้การต้อนรับผู้แทนจากบริษัท อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ประเทศไทย
เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566 ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี รองศาสตราจารย์ ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ และศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล
เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2566 ศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดี รองศาสตราจารย์ ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้ำ และศาสตราจารย์ ดร.ชวลิต รัตนธรรมสกุล
เมื่อวันที่ 24 ธันวาคม 2565 นางสาวพวงทอง ทองปาน นางสาวพรทิพย์ ถึงพุ่ม นางสาวเรืองรอง แก้วอินทนิน และ นางสาววิจิตรา ศรีละออ บุคลากรภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
อาจารย์วิศวฯ จุฬาฯ ออกแบบ “Gowajee” นวัตกรรม AI ถอดความภาษาไทย แปลงเสียงเป็นข้อความและข้อความเป็นเสียง แม่นยำเป็นธรรมชาติราวเจ้าของภาษา เก็บข้อมูลปลอดภัย เริ่มใช้งานแล้วกับระบบคอลเซ็นเตอร์และการคัดกรองผู้ป่วยซึมเศร้า จ่อประยุกต์ใช้กับงานอีกหลายรูปแบบ
วันที่ 6 มกราคม 2566 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดพิธีทำบุญตักบาตร ถวายสังฆทานและจตุปัจจัยแด่พระสงฆ์ 9 รูป เนื่องในโอกาสปีใหม่พุทธศักราช 2566 พร้อมกันนี้ ผู้บริหาร คณาจารย์ บุคลากร
กลุ่มบริษัท ดาว ประเทศไทย (Dow) ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ และเทคโนโลยีใหม่ ๆ จากการทำงานจริง สู่เนื้อหาบทเรียนในชั้นเรียนอันเข้มข้น เพื่อพัฒนาบุคลากรวิศวกรรมเคมีที่มีคุณภาพ ตอบโจทย์ความต้องการของภาคอุตสาหกรรมไทยและตลาดแรงงานได้อย่างตรงจุด
โดย: รศ. ดร.สุจริต คูณธนกุลวงศ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1.สถานการณ์น้ำท่วมในปีนี้ สภาพฝนในปีนี้ของประเทศไทย มีฝนตกเร็วในช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม แต่หลังจากนั้น สภาพฝนลดลง และฝนมาตกมากอีกทีในช่วงกลางเดือนกันยายนที่มีร่องความกดอากาศต่ำภายใต้ดีเปรสชั่นโกเชิน และตามด้วยดีเปรสชั่นเตี้ยนหมูในปลายเดือนกันยายน ทำให้เกิดสภาพฝนตกหนักเฉพาะพื้นที่ และน้ำท่วมอย่างรวดเร็วเฉพาะพื้นที่
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และบริษัท ฮิตาชิ เอบีบี พาวเวอร์กริดส์ (ประเทศไทย) จำกัด ร่วมแถลงข่าวความร่วมมือในโครงการ Supporting Apprentice Students Program ระหว่างภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
นับวันปัญหาฝุ่น PM2.5 จะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นและมีแนวโน้มอยู่ในระดับที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ดังนั้น คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงได้จัดตั้งคณะทำงานที่เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีเซนเซอร์ตรวจวัดปริมาณ PM2.5 ใช้ชื่อว่า โครงการ SENSOR for All เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่
สมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดกิจกรรม ChAMP Engineering Outing ณ โรงแรมฮอลิเดย์ อินน์ พัทยา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพนิสิตคณะวิศวกรรมศาสตร์ให้มีความรู้ความสามารถและทักษะในด้านต่าง ๆ ผ่านมุมมองของนิสิตเก่าผู้มีประสบการณ์ทางด้านสายอาชีพวิศวกรรมอย่างแท้จริง
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า