วศ.2521 จัดทริปลพบุรี พร้อมเยือนโรงงานเบทาโกร และเที่ยวในจังหวัดลพบุรี สนุกสุดเหวี่ยง
รุ่นวิศวฯ จุฬาฯ 2521 จัดขึ้น โดยเป้าหมายหลักคือไปเยี่ยมเยือนโรงงานเบทาโกร โดยเพื่อนร่วมรุ่น อาจารย์ ดร.วรัญ แต้ไพสิฐพงษ์ ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี
รุ่นวิศวฯ จุฬาฯ 2521 จัดขึ้น โดยเป้าหมายหลักคือไปเยี่ยมเยือนโรงงานเบทาโกร โดยเพื่อนร่วมรุ่น อาจารย์ ดร.วรัญ แต้ไพสิฐพงษ์ ให้การต้อนรับเป็นอย่างดี
ฤดูร้อนปีนี้อากาศร้อนรุ่มถึงระดับหนักหนาสาหัสจนคนทั่วโลกรู้สึกได้จนถึงขั้นคำว่า “โลกเดือด” เลยละครับ พี่น้องชาวไทยที่พอมีปัจจัยเหลือกินเหลือใช้บ้างก็เดินทาง “หนีร้อนไปพึ่งเย็น” ในต่างประเทศ ไปเที่ยวชายทะเลหรือน้ำตกในประเทศบ้าง ส่วนพวกเรา ๆ ที่เดินดินกินข้าวแกงก็อาศัยเดินห้าง เข้าโรงหนังพอบรรเทาไปได้ชั่วคราว
สมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จัดงานเสวนา “เข้าใจน้ำท่วม แนวคิดวิศวกร” โดยมี วิโรจน์ เจริญตรา นายกสมาคมนิสิตเก่าวิศวฯ จุฬาฯ กล่าวต้อนรับ รองศาสตราจารย์ ดร.วิทยา
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ของรัฐบาล ได้เน้นการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งทางรางให้เป็นแกนหลักด้านการคมนาคมของประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน กระทรวงคมนาคมจึงได้เร่งรัดการพัฒนาระบบรางมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการพัฒนารถไฟฟ้าขนส่งมวลชน รถไฟทางไกลระหว่างเมือง และรถไฟความเร็วสูง และเพื่อให้มีการดำเนินงานทางยุทธศาสตร์การพัฒนาทางเทคโนโลยีที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน กระทรวงคมนาคมจึงได้จัดตั้ง สถาบันวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีระบบราง (องค์การมหาชน)
บทสัมภาษณ์พิเศษในครั้งนี้จะมาถอดบทความของ รศ. ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์ คณบดี คนใหม่ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่พึ่งได้รับแต่งตั้งเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ที่ผ่านมา ในโอกาสนี้กองบรรณาธิการวารสารอินทาเนียต้องขอแสดงความยินดีด้วยเป็นอย่างยิ่ง
สถานการณ์โลกร้อนวิวัฒนาการเป็นสถานการณ์โลกเดือดไปแล้วในหลายภูมิภาค สำหรับประเทศไทยเราเองก็เริ่มคุ้นชินกับการได้ยินระดับอุณภูมิ 40 องศาเซลเซียสขึ้นไป ฤดูหนาวที่หดสั้นโดยมีอากาศเย็น ๆ ให้รู้สึกบ้างเพียงแค่ 2-3 วันเท่านั้น ส่วนฤดูร้อนแล้งกลับยาวนาน ซ้ำเติมด้วยปริมาณฝุ่นขนาดเล็ก PM2.5 ที่อยู่ในระดับสูงเกือบทั่วประเทศ ยกเว้นแถบภาคใต้ที่ลมพัดแรงและฝนชุกเท่านั้น
หลักการก้าวเดินแบบ MOVE โดย ศาสตราจาร์ ดร.สุพจน์ เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่เชื่อมโยงกับทุกส่วนสังคมจากการเป็นผู้นำของคณะวิศวฯ จุฬาฯ ตลอดระยะเวลา 8 ปี
บุคลากร IRPC จำนวน 60 คน ได้เข้ารับมอบประกาศนียบัตรผ่านการอบรมในหลักสูตร “IRPC SD ACADEMY” โดยหลักสูตรฯ นี้เป็นความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงาน ประกอบด้วย บริษัท
ความรักและการเกื้อกูลกันเป็นคุณสมบัติสำคัญอันหนึ่งที่ได้รับการปลูกฝังมาในสังคมวิศวฯ จุฬาฯ ภายใต้คำขวัญทั้ง 5 ของจุฬาฯ น้ำใจคือ 1 ใน 5 คำขวัญ ที่พี่น้องชาวปราสาทแดงจะมีให้ เพื่อน พี่ น้อง เสมอในยามที่ลำบาก
การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจกที่เหมาะสมกับสังคมไทยต้องพิจารณาหลายปัจจัย ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม โดยการสร้างแนวทางและนวัตกรรมต่าง ๆ เพื่อให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่องก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้มส่งผลกระทบรุนแรงขึ้นในทุกภูมิภาคทั่วโลก
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า