วศ.10

มารู้จักปรมาจารย์ท่านหนึ่งในสาขา Thermodynamics (วิชาปราบเซียนของเครื่องกล)

มารู้จักปรมาจารย์ท่านหนึ่งในสาขา Thermodynamics (วิชาปราบเซียนของเครื่องกล)

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2566 ที่ผ่านมา ผมไปพบหนังสือเก่าใช้แล้วเล่มหนึ่งโดยบังเอิญทางออนไลน์ ผู้ขายบอกว่าเหลืออยู่เพียงเล่มเดียว สภาพยังดี และส่งมาเมืองไทยให้ได้ ชื่อว่า “Vision for

การสอนและสร้างวิศวกร: แนวคิดจากประสบการณ์ สู่แนวทางในอนาคต

การสอนและสร้างวิศวกร: แนวคิดจากประสบการณ์ สู่แนวทางในอนาคต

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมได้รับการประสานจากผู้จัดทำหนังสือ “9 รอบ 108 ปี คณะวิศวฯ จุฬาฯ (เล่ม 3)” ให้เขียนบทความจากประสบการณ์ โดยกำหนดประเด็นมาคือ

“อดีตคณบดีวิศวจุฬา ที่ผมได้เคยทำงานใกล้ชิด… ศ.พิเศษฯ, ศ.อรุณฯ, ศ.ชัยฯ”

“อดีตคณบดีวิศวจุฬา ที่ผมได้เคยทำงานใกล้ชิด… ศ.พิเศษฯ, ศ.อรุณฯ, ศ.ชัยฯ”

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) หลายเหตุการณ์ในบทความนี้เกิดขึ้นย้อนหลังไปกว่า 50 ปี ทำให้รู้สึกเลือนและสับสนอยู่บ้างในตอนแรก ต้องสอบถามเพื่อนร่วมรุ่นหลายคนเพื่อความมั่นใจในบางเรื่อง แม้กระทั่งการหารูปเก่าที่ชัดเจนของอาจารย์ทั้ง 3 ท่านก็ทำได้ยาก แต่ยังโชคดีที่สามารถค้นเจอ โดยเฉพาะจากหนังสือเล่มหนึ่งชื่อ “ที่ระลึก

ไปดูเขาทำเหมืองพลอยกันที่ศรีลังกา

ไปดูเขาทำเหมืองพลอยกันที่ศรีลังกา

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ก่อนอื่นขออนุญาตเกริ่นถึงประเด็นสำคัญที่กำลังเกิดขึ้นกับประเทศศรีลังกาสักเล็กน้อย แทนที่จะตรงไปคุยเรื่องเหมืองพลอยเลย เนื่องจากเป็นที่ทราบกันดีว่า ขณะนี้ (พฤษภาคม 2565) ประเทศศรีลังกากำลังประสบกับปัญหาวิกฤติหนี้และภาวะตกต่ำทางเศรษฐกิจ ซึ่งน่าจะเกิดจากความผิดพลาดในการลงทุนที่เกินตัว จนอาจเรียกได้ว่า “ติดกับดักหนี้” เช่น

การลดก๊าซเรือนกระจก ทำไมต้องเริ่มวันนี้

การลดก๊าซเรือนกระจก ทำไมต้องเริ่มวันนี้

“ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ปัจจุบันหลายหน่วยงานและหลายภาคส่วนให้ความสำคัญและจับตามองเรื่องของภาวะโลกร้อนเป็นอย่างมาก เพราะมีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจและสุขภาพของทุกคนโดยตรง เพราะฉะนั้นทุกภาคส่วนต้องร่วมมือกันโดยใช้กลยุทธ์และความแข็งแกร่งที่มีอยู่เร่งแก้ปัญหานี้ เพื่อลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศไทยให้ลดลงตามเป้าหมายที่กำหนดให้ได้ เพื่อระบบเศรษฐกิจและสุขภาพที่ดีของทุกคน” กิจจา จำนงค์อาษา วศ.10 ผู้ก่อตั้ง กลุ่มบริษัท บี ปิโตรไทย จำกัด ดำเนินธุรกิจทางด้านพลังงานและปิโตรเคมีในไทยมาอย่างยาวนานกว่า

อย่าเรียนอย่างเดียวต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 5 (จบ)

อย่าเรียนอย่างเดียวต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 5 (จบ)

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 5 ในการประชุมนานาชาติที่ได้มีโอกาสไปร่วม เช่น เจรจาเพื่อปกป้องและแก้ปัญหากรณีปราสาทพระวิหาร ฯลฯ สิ่งละอันพันละน้อยที่ได้จากการท่องเที่ยว เรียนรู้วัฒนธรรม นิสัยใจคอ

อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 4

อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 4

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 4 เมื่อถึงจุดหนึ่งผมตัดสินใจลาออกจากการรถไฟฯ มาเริ่มนับหนึ่งใหม่ในโลกภายนอก โดยไม่เคยเอ่ยปากว่าจะออกมาก่อนแม้แต่ครั้งเดียว แม่เคยสอนไว้ว่า ในใจจะอย่างไรก็ตาม “เวลาจากที่ไหน ให้จากด้วยดี“ เพราะวันหนึ่งอาจต้องโคจรมาเจอกันอีกก็เป็นได้ ผมจึงใช้เหตุผลโดยวาจาว่า ผมกลับมาเริ่มทำงานจริงที่การรถไฟฯ “วันที่สิบเอ็ดเดือนสิบเอ็ดปีสองเอ็ด (จำง่าย)” ผมขอลาออก “วันที่สิบเอ็ดเดือนสิบเอ็ดปีสามเอ็ด“ รวม 10 เต็มวันชนวันพอดี (แต่อายุงานจริงมากกว่านั้น เพราะได้สิทธินับอายุงานตั้งแต่ไป) และเนื่องจากได้ทุนทางโน้นด้วย (ดังกล่าวมาแล้ว) ไม่ได้ใช้เงินทางนี้มาก บำเหน็จที่จะได้รับตอนออกจึงหักลบกลบล้างกับหนี้ทุนที่ต้องชดใช้ได้ประมาณพอดีกัน

อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 3

อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 3

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอน 3 อีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวโยงกับการเดินทาง และอยากนำมากล่าวถึงเป็นเกร็ดความรู้ แต่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้บ่อยครั้งในชีวิตจริง คือทำอย่างไรเราจะบอกขนาดของพื้นที่โดยประมาณได้ด้วยตาเปล่า ไม่เฉพาะในหน่วยเป็น “ไร่” แต่รวมถึงหน่วย

อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 2

อย่าเรียนอย่างเดียว ต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 2

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) อย่าเรียนอย่างเดียวต้องเที่ยวด้วย ตอนที่ 2 ในระหว่างเดือน ธันวาคม 2525 ถึง เมษายน 2526 ผมถูกส่งไปเป็นวิศวกรตรวจการสร้างรถสินค้า ที่การรถไฟฯได้สั่งซื้อจากบริษัทแดวู

“ครบรอบ 46 ปีแห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ไทย-จีน และ 30 ปีแห่งจีน-อาเซียน” โดย สหัส บัณฑิตกุล

“ครบรอบ 46 ปีแห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ไทย-จีน และ 30 ปีแห่งจีน-อาเซียน” โดย สหัส บัณฑิตกุล

โดย ดร.สหัส บัณฑิตกุล (วศ.2510) ผมมีความยินดีที่ได้มาคุยเล่าสู่กันฟังผ่านนิตยสารแม่น้ำโขง ในวาระครบรอบ 46 ปีแห่งการสถาปนาความสัมพันธ์ไทย-จีน และ 30 ปีแห่งจีน-อาเซียน ขอถือโอกาสเกริ่นแต่ต้นนี้ก่อนว่าเรื่องที่จะคุยนั้นจะไม่เน้นภาคทฤษฎีหรือความเป็นมาที่ทุกท่านสามารถหาอ่านได้จากที่ต่าง ๆ โดยไม่ยาก แต่จะเน้นประสบการณ์แห่งความทรงจำบางส่วนซึ่งผมได้สัมผัสมาด้วยตัวเองในช่วงเวลาดังหัวข้อเรื่องนี้ที่มีส่วนเกี่ยวโยงถึงความสัมพันธ์ทั้งไทย-จีน

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวของคุณได้เอง โดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    Always Active

    คุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

Save